My Community

หมวดหมู่ทั่วไป => ห้องพักผ่อนรวม (Common Room) => ข้อความที่เริ่มโดย: ipmaya ที่ 28 พฤศจิกายน 2012, 16:58:52

หัวข้อ: อึ้ง มำกันมีแผนระเบิดดวงจันทร์ ข่มขวัญโซเวียตในยุคสงครามเย็น
เริ่มหัวข้อโดย: ipmaya ที่ 28 พฤศจิกายน 2012, 16:58:52
อึ้ง มำกันมีแผนระเบิดดวงจันทร์ ข่มขวัญโซเวียตในยุคสงครามเย็น
(http://news.tlcthai.com/wp-content/uploads/2012/11/9bjb7ai6be5eihebdb956.jpg)
ดูดวงไพ่ยิปซี (http://ipmaya.com/ดูดวงไพ่ยิปซี/) วิธีทําให้ผิวขาว (https://www.facebook.com/glutasin) ทํานายฝัน (http://ipmaya.com/ทํานายฝัน/) ดูดวงรายวัน (http://ipmaya.com/ดูดวงรายวัน/)  ดูทีวีออนไลน์ช่อง7 (http://ipmaya.com/ดูทีวีออนไลน์ช่อง-7/) อ่านนารูโตะ (http://ipmaya.com/อ่านนารูโตะ/) ดูทีวีออนไลน์ช่อง3 (http://ipmaya.com/ดูทีวีออนไลน์ช่อง3/)
สหรัฐเคยมีโครงการจะใช้นิวเคลียร์ระเบิดดวงจันทร์ เพื่อข่มขวัญสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น
(http://hilight.kapook.com/img_cms2/user/fontip/World%20News/shutterstock_61295794.jpg)
คําคม (http://ipmaya.com/คําคม/) กลูต้าน้ำ (http://ipmaya.com/กลูต้าน้ำ/) วิธีลดน้ําหนัก (http://ipmaya.com/วิธีลดน้ําหนัก/) ครีมโสม White Pearl (http://ipmaya.com/ครีมโสมwhite-pearl/)  กลูต้าไธโอน (http://ipmaya.com/กลูต้าไธโอน/) ครีม JOA (http://ipmaya.com/ครีม-joa-cream-pack/) วิธีลดต้นขา (http://ipmaya.com/วิธีลดต้นขา/)
26 พ.ย. 55  เว็บไซต์แท็บลอยด์เดลี่ เมล ของอังกฤษ รายงานว่า สหรัฐเคยมีแผนการใช้ระเบิดนิวเคลียร์ทำลายดวงจันทร์ เพื่อเอาชนะสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น โดยคณะนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐเชื่อว่า การจุด ระเบิดบนดวงจันทร์ จะข่มขวัญ สหภาพโซเวียต โดยวางเป้าหมายปฏิบัติภารกิจในปี 2502 แต่ต่อมาได้ยกเลิกแผนนี้ เนื่องจากมีความเป็นไปได้ว่า จะเกิดอันตรายต่อประชาชนที่อยู่บนโลกมนุษย์
เรื่องนี้อาจจะคล้ายพลอตเรื่องในภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ แต่ภารกิจระเบิดดวงจันทร์ของสหรัฐด้วยนิวเคลียร์ เป็นเรื่องที่เป็นความจริงอย่างยิ่ง เมื่อช่วงทศวรรษที่ 1950 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแข่งขันอย่างสูงทางด้านอวกาศ และสหรัฐได้พิจารณาเห็นว่า การใช้นิวเคลียร์ระเบิดดวงจันทร์ จะเป็นเสมือนการแสดงแสนยานุภาพของสหรัฐในยุคสงครามเย็น
โครงการลับนี้ มีชื่อว่า ” A Study of Lunar Research Flights – การศึกษาเที่ยวบินวิจัยดวงจันทร์ “หรือเรียกสั้นๆ ว่า  ” โปรเจ็ค เอ 119 “ แต่ไม่เคยได้ใช้งาน
ด้านลีโอนาร์ด ไรฟ์เฟล ให้สัมภาษณ์เมื่อปี 2543 ว่า สหรัฐเชื่อว่า แรงระเบิดของนิวเคลียร์บนดวงจันทร์ อาจข่มขวัญสหภาพโซเวียต และส่งเสริมความมั่นใจของสหรัฐ หลังจากโซเวียตชิงปล่อยยานสปุตนิคตัดหน้าขึ้นสู่อวกาศก่อน
ปัจจุบัน ไรเฟิล มีวัย 85 ปี และมีตำแหน่งเป็นรองผู้อำนวยการอยู่ที่สำนักงานบริหารอวกาศและการบินแห่งชาติของสหรัฐ หรือ  นาซา
แผน การระเบิดดวงจันทร์ ได้รวมถึงการการคำนวณเกี่ยวกับปฏิกิริยาของฝุ่นและก๊าซ ภายหลังการระเบิด โดย คาร์ล ซากัน นักดาราศาสตร์ ที่ขณะนั้นเพิ่งจะจบการศึกษา แต่ซากันซึ่งต่อมาได้กลายเป็นผู้มีชื่อเสียงในการเขียนพลอตภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ทางโทรทัศน์ ได้เสียชีวิตเมื่อปี 2539 และหนึ่งในผู้เขียนชีวประวัติของเขา ได้ตั้งข้อสังเกตว่า เขาอาจละเมิดการมาตรการรักษาความปลอดภัย เมื่อปี 2502 หลังจากเปิดเผยโครงการที่ถูกลำดับชั้นความลับ ในฐานะนักศึกษาที่ใช้ทุน
(https://twimg0-a.akamaihd.net/profile_images/188302352/nasalogo_twitter.jpg) (http://www.ostc.thaiembdc.org/images/jan/jan11_7.jpg)
โสมโดส  (http://xn--l3cz0ac0jc.blogspot.com/) รูปกวนๆ  (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/blog-post_5367.html) อ่านนารูโตะ (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/naruto.html) วิธีทําให้ผิวขาว (https://www.facebook.com/glutasin) อ่านวันพีช (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/one-piece.html) อ่านแฟรี่เทล (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/fairy-tail.html)  ภาพพื้นหลัง (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/blog-post_3255.html) คําคมภาษาอังกฤษ (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/blog-post_9.html) อักษรพิเศษ (http://ufo-za.blogspot.com/2012/11/blog-post_18.html)
โปรเจ็ค เอ 119 กำหนดให้ ยิงขีปนาวุธนำระเบิดนิวเคลียร์ขนาดย่อม จากสถานที่ที่ไม่เปิดเผย และเดินทางเป็นระยะทาง 380,000 กิโลเมตร ไปยังดวงจันทร์ และจะระเบิดอัตโนมัติเมื่อสัมผัสผิวดวงจันทร์ ผู้ที่ร่วมวางแผนในโครงการนี้ ได้ตัดสินใจว่า จะต้องใช้ระเบิดนิวเคลียร์เท่านั้น เพราะระเบิดไฮโดรเจน จะหนักเกินกว่าขีปนาวุธจะบรรทุกไหว
ที่ภารกิจนี้ ถูกกำหนดขึ้นในปี 2502 ก็เพราะกองทัพอากาศได้ประจำการขีปนาวุธข้ามทวีป แต่เจ้าหน้าที่ในกองทัพได้ยกเลิกแนวคิดนี้ เนื่องจากเกรงว่าจะเกิดอันตรายต่อประชาชนบนโลก ถ้าภารกิจล้มเหลว และนักวิทยาศาสตร์ก็วิตกว่า จะทำให้ดวงจันทร์ปนเปื้อนด้วยสารกัมมันตรังสี
 
ที่มา: คมชัดลึกออนไลน์